บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2018

วิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคจัดการเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ             1.      การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย (Lecture Method)             2.      การจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย (Discussion Method)             3.      การจัดการเรียนรู้โดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion)             4.      การจัดการเรียนรู้แบบสาธิต (Demonstration Method)             5.      การจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมุติ (Role Method)             6.      การจัดการเรียนรู้โดยใช้การแสดงละคร (Dramatization)             7.      การจัดการเรียนรู้แบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)             8.      การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกม (Game)             9.      การจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ (Process)            10.    การจัดการเรียนรู้โดยกระบวนการสุ่ม (Group Process)            11.    การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)            12.    การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค TGT (Team Games Tournaments)            13.    การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions)        

ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง (Constructivism)

ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ ( http://www.learners.in.th/blog/natchakan/ 386486) กล่าวว่า ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ( Constructivism) เป็นทฤษฏีที่ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่งต่างๆ เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูล นอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย การสร้างความรู้จึงเป็นกระบวนการทั้งด้านสติปัญญาและสังคมควบคู่กันไป           สุรางค์ โคว้ตระกูล (https://maysasipreeya.wordpress.com) กล่าวว่า ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ( Constructivism) เป็นทฤษฏีที่ให้ความสำคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากประสบการณ์ รวมทั้งโครงสร้างทางปัญญาและความเชื่อที่ใช้ในการแปลความหมายเหตุการณ์และสิ่งต่างๆ เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทำกับข้อมูล นอกจากกระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย การสร้างความรู้จึงเป็นกระบวนการทั้งด้

ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)

ทิศนา แขมมณี ( 2553: 85-89)   ได้กล่าวถึงทฤษฎีพหุปัญญาไว้ดังนี้ ทฤษฎีพหุปัญญา ( Theory of Multiple Intelligences) ทฤษฎีการเรียนรู้                 ผู้บุกเบิกทฤษฎีนี้คือ การ์ดเนอร์ ( Gardner)   จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ( Harvard University) ในปี ค.ศ. 1983   เขาได้เขียนหนังสือชื่อ “ Frames of Mind : The Theory of Multiple Intelligences” ซึ่งได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง แนวคิดของเขาก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิดเกี่ยวกับ “เชาวน์ปัญญา” เป็นอย่างมาก และกลายเป็นทฤษฎีที่กำลังมีอิทธิพลอย่างกว้างขวางต่อการจัดการศึกษาและการเรียนการสอน การ์ดเนอร์ ( Gardner , 1983) ให้นิยามคำว่า “เชาวน์ปัญญา” หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหาในสภาพแวดล้อมต่างๆหรือสร้างสรรค์ผลงานต่างๆซึ่งจะมีความสัมพันธ์กับบริบททางวัฒนธรรมในแต่ละแห่ง รวมทั้งความสามารถในการตั้งปัญหาเอจะหาคำตอบและเพิ่มพูนความรู้ การ์ดเนอร์มีความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญ 2 ประการคือ            1. เชาวน์ปัญญาของบุคคลมิได้มีเพียงความสามารถทางภาษและทางคณิตศาสตร์เท่านั้น แต่มีอยู่อย่างหลากหลายถึง 8 ประเภทด้วยกัน ซึ่งเขาบอกว่า ความจริงอาจจะมีมากกว